3.22.2554

PRANAYAMA 2 (cont.)



The Final Goal
Attempt pranayama only when the yoga asanas have been mastered. Each inhalation activates the central nervous system into stimulating the peripheral nerves, and each exhalation triggers the reverse process. During the retention of breath, both process take place. Pranayama is a complex process. It has to be practiced with the greatest sincerity and precision. You cannot achieve pranayama just because you want to-you have to be ready for it.

In pranayamic breathing, the brain is quiet, and thus allows the nervous system to function more effectively. Inhalation is the art of receiving primeval energy into the body in the form of breath and bringing the spiritual cosmic breath into contact with the individual breath. Exhalation is the removal of toxins from the system.

Between the material and spiritual world
Pranayama is also the link between the physiological and spiritual organisms of man. At first, pranayama is difficult and requires great effort. Mastery is achieved when pranayama becomes effortless. Just as the diaphragm is the meeting point of the physiological and spiritual body, the retention of energy is realizing the very core of your body. Once the external movements are controlled, there is internal silence. In such a silence there is no thought as the mind has then dissolved in the self. 

Practicing pranayama is not only very difficult, but also highly absorbing. If you fail after a few cycles, be content with the knowledge that you have practiced three or four cycles with awareness and attention. Do not turn away from failures, but try to accept them and learn from them. Gradually, you will be successful in your attempts and will learn to master pranayama.

Reference: B.K.S Iyengar - Philosophy of Yoga

3.17.2554

PRANAYAMA


Prana, the breath, and the mind are inextricably linked to each other.

The ancient yogis advocated the practice of pranayama to unite the breath with the mind, and thus with the prana or life-force. Prana is Energy and Ayama is the storing and distribution of that energy. Ayama has 3 aspects or movements: vertical extension, horizontal extension, and cyclical extension. By practicing pranayama, we learn to move energy vertically, horizontally, and cyclically to the frontiers of the body.

Breath in Pranayama
Pranayama is not deep breathing. Deep breathing tensed the facial muscles, makes the skull and scalp rigid, tightens the chest and applies external force to intake or release of breath. This creates hardness in the fibers of the lungs and chest, preventing the percolation of breath through the body.

In Pranayama, the cells of the brain and the facial muscles ramain soft and receptive, and the breath is drawn in or released gently. During inhalation, each molecule, fiber and cell of the body is independently felt by the mind, and is allowed to receive and absorb the prana. There are no sudden movements and one becomes aware of the gradule expansion of the respiratory organs, and feel the breath reaching the most remote part of the lungs.
In exhalation, the release of breath is gradule, and this gives the air cells sufficient time to re-absorb the residual prana to the maximum possible extent. This allows for the full utilization of energy, thus building up emotional stability and calming the mind.

The practice of asanas removes the obstructions which impede the flow of prana. During pranayama, one should be totally absorbed in the fineness of inhalation, exhalation, and in the naturalness of retention. One should not disturb or jerk the vital organs and nerves, or stress the brain cells. The brain is the instrument which observes the smooth flow of inhalation and exhalation. One must be aware of the interruptions which occur during a single inhalation and exhalation. Check these and a smooth flow will set in. During retention of breath, learn to retain the first indrawn breath with stability. If this stability is lost, it is better to release the breath, rather than strain to hold it. While inhaling or retaining the breath in pranayama cycle, remember to ensure that the abdomen does not swell. 

to be continue.....

3.07.2554

โยคะและการเจริญสติปัฏฐานสี่

มีอะไรในตัวเราให้ดูบ้างระหว่างฝึก


คำตอบ คือ ทั้งหมดที่เป็นส่วนของกายและภาวะทางใจ คุณผู้อ่านทำหน้างงๆกันแล้ว ยังงัยล่ะเนี่ย??  จะดูยังงัยหมด? ดูพร้อมกันหมดเลยรึเปล่า? คำตอบ คือ เปล่าค่ะ แยกดูเป็นส่วนๆก่อนนะคะ เพราะดูทั้งหมดทีเดียวเป็นไปไม่ได้ค่ะ ดูเท่าที่เราดูได้พอค่ะ แล้วดูส่วนไหนก่อนดีล่ะ? ดูลมหายใจก่อนเป็นงัยคะ เพราะลมหายใจเป็นที่พึ่งได้และยังเป็นตัวฉุดสติได้ด้วยค่ะ รวมทั้งเป็นตัวทำให้เกิดสติเห็นความไม่เที่ยงตามจริงได้ด้วยค่ะ


เอาล่ะ เมื่อรู้วิธีกันแล้ว ทีนี้ก็เริ่มกันเลยนะคะ แค่รู้ธรรมดาๆว่า กำลังหายใจเข้าหรือหายใจออก ตรงนั้นเรียกว่า "มีสติ" ค่ะ เมื่อใดมีสติ เมื่อนั้นความสงสัยและความฟุ้งซ่านย่อมถูกแทนที่ได้ชั่วคราว ปัญหา คือ เราทั้งหลายไม่สามารถปลูกฝังความพอใจ หรือกระทั่งเตือนสติให้ตนเองเข้ามารู้ลมหายใจหรือรายละเอียดอื่นๆในกายและใจได้ง่ายนัก ตรงนี้พิสูจน์ได้ไม่ยากค่ะ เวลาฝึกๆไป แค่ตามลมได้ตลอดก็เก่งแล้วค่ะ แต่ส่วนใหญ่ เวลาฝึกๆไปจะล่องลอยไปที่โน่นที่นี่กันมากกว่า ลองสังเกตุตัวเองดูนะคะ ว่าเราตามลมได้ตลอดมั้ย ถ้าได้ตลอด ลองสังเกตุต่อไปอีกว่า เมื่อใดลมหายใจสั้น เมื่อใดลมหายใจยาว แรกเริ่ม ถ้าไม่เคยฝึกโยคะมาก่อนลมหายใจมักจะสั้นอยู่แล้วค่ะ และถ้าลมหายใจสั้น สติจะเกิดได้ยากกว่าลมหายใจยาว แต่ถึงแม้ลมหายใจจะสั้น ถ้าเรารู้ว่าเรากำลังหายใจอยู่ เมื่อนั้นสติก็เกิดแล้วค่ะ


เมื่อฝึกไปๆอย่างต่อเนื่อง ลมหายใจจะยาวขึ้นเรื่อยๆ คราวนี้เมื่อเราสามารถลากลมหายใจได้ยาว เราจะดูลมได้ชัดขึ้นค่ะ เมื่อดูลมชัดขึ้น จะเกิดสติง่ายขึ้น คราวนี้ เราจะมีสมาธิอยู่กับตัวเองมากขึ้นโดยที่ความฟุ้งซ่านเรื่มลดน้อยลง เราสามารถย้ายจากการดูลมหายใจมาดูที่กายได้ว่าเรากำลังฝึกอาสนะไหนอยู่ แขนซ้ายหรือแขนขวาที่ียกขึ้น ขาซ้ายหรือขาขวาที่ยืนอยู่ ก้มตัวอยู่หรือเงยขึ้น เมื่อฝึกถึงท่าที่เราไม่ค่อยถนัดเท่าไรนัก เช่น การใช้ร่างกายข้างที่ไม่ถนัดซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นข้างซ้าย ทำไมมันก้มไม่ไปหรือเงยไม่ได้แถมยังเจ็บมากๆด้วย เราก็ดูเวทนาที่มันเิกิดขึ้น เออนะ ร่างกายเรานี่มันไม่มีส่วนไหนที่สบายอยู่ตลอดเวลา ตอนนี้ทำได้ ค้างท่าได้สบายๆ ลองค้างนานๆสัก 10 ลมสิคะ โอย!! เริ่มปวดแล้ว เมื่อไหร่จะให้เปลี่ยนท่าซะที ตอนนี้น่ะ อ่านแล้วขำ แต่ตอนอยู่ในชั้นเรียนถึงกับโกรธครูไปเลยก็มี จะทรมานกันไปถึงไหนเนี่ย?? (แอบใส่ความรู้สึกส่วนตัวเล็กๆค่ะ :) ) 


แต่ถ้าเรามีสติพอที่จะดูมันต่อไปเรื่อยๆ เราจะพบว่า ความเจ็บหรืออารมณ์ใดๆก็ตามที่เกิดขึ้น มันอยู่กับเราไม่นานหรอกค่ะ เดี๋ยวมันก็ไป เดี๋ยวเปลี่ยนท่ามันก็หายแล้ว ตรงนี้ เราก็ได้การพิจารณาธรรมะขึ้นมาอีก ได้ธรรมะระหว่างฝึก "สิ่งใดเกิดขึ้น สิ่งนั้นตั้งอยู่และดับไป" ในที่สุด เพียงแต่เราพิจารณาตรงนี้ทันรึเปล่า ส่วนใหญ่ ไม่ทันค่ะ เพราะมัวแต่โกรธ หงุดหงิด รำคาญ งัยคะ กิเลสเอาไปกิน


ลองใหม่มั้ยคะ คราวหน้าฝึกเองหรือเข้าชั้นเรียนลองเริ่มสังเกตุตัวเองไปเรื่อยๆ เริ่มจากดูลมหายใจก่อนนะคะ แล้วถ้ามีสิ่งใดเกิดขึ้นระหว่างฝึก โดยที่สิ่งนั้นมากระทบอายตนะทั้งหกของเรา คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ อะไรเกิดขึ้นก็ใช้จิตไปรับรู้สิ่งนั้น คือ หงุดหงิดห็รู้ว่าหงุดหงิด รำคาญก็รู้ว่ารำคาญ (จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน) กายเคลื่อนไหว รู้ว่าส่วนใดเคลื่อนไหวอยู่ (กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน) มีความเจ็บปวดเกิดขึ้น รับรู้ที่ความเจ็บปวดนั้น (เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน) สุดท้าย รู้ว่า สิ่งใดๆย่อมไม่คงทน มีความ "เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป" เป็นธรรมดา (ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน) 


เพียงแค่นี้ เราก็สามารถฝึกโยคะไปพร้อมๆกับการเจริญสติปัฏฐานสี่ตามแนวทางของพุทธศาสนาได้แล้วค่ะ ถามว่า ยากมั้ย ตอบว่า ยากค่ะ แต่ไม่เกินความสามารถของทุกท่านแน่นอนค่ะ ค่อยๆเริ่มจากวันนี้นะคะ อย่างน้อย ก็ได้ชื่อว่านับหนึ่งแล้ว 


สุดท้าย ขอให้ทุกท่าน ค้นพบตัวตนภายในอย่างแท้จริง ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดของการฝึกโยคะค่ะ


อ้างอิง : หนังสือวิปัสสนานุบาล